info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft Asset Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0811/พ.17063 ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีดอกเบี้ยจากการผิดนัด
เลขที่หนังสือ กค 0811/พ.17063 ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีดอกเบี้ยจากการผิดนัด
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0811/พ.17063 ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีดอกเบี้ยจากการผิดนัด
เลขที่หนังสือ กค 0811/พ.17063 ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีดอกเบี้ยจากการผิดนัด
ย้อนกลับ
เลขที่หนังสือ
: กค 0811/พ.17063
วันที่
: 17 ธันวาคม 2541
เรื่อง
: ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี
ดอกเบี้ย
จากการผิดนัด
ข้อกฎหมาย
: มาตรา 77/1
ข้อหารือ
: บริษัทฯ ได้ทำสัญญาว่าจ้างผู้รับเหมาคือ บริษัท ก. จำกัด บริษัท ข. จำกัด บริษัท ค.
จำกัด และกิจการร่วมค้า ง. เพื่อดำเนินการติดตั้งโครงข่ายสายโทรศัพท์ โดยในสัญญานอกจากจะระบุ
เงื่อนไขการชำระเงินค่าจ้างหลังจากผู้รับเหมาติดตั้งโครงข่ายแล้วเสร็จไว้แล้ว ยังระบุให้ผู้ว่าจ้างมีสิทธิ์
เลือกชำระเงินภายใน 14 วัน ตามที่กำหนดไว้ในสัญญา หรือยืดระยะเวลาการชำระเงินค่าจ้างออกไป
390 วัน โดยในระยะเวลา 390 วัน บริษัทฯ ต้องชำระเฉพาะดอกเบี้ยให้แก่ผู้รับจ้างเป็นประจำ
ทุกเดือนตามอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เบิกเงินเกินบัญชี (MINIMUM OVERDRAFT RATE MOR-1) ของ
ธนาคาร และเมื่อครบกำหนดการชำระเงินตามสัญญารับจ้างบริษัทฯ จะต้องชำระเงินต้น (ค่าจ้าง) ตาม
จำนวนที่เรียกเก็บ
บริษัทฯ ขอทราบว่า เมื่อบริษัทฯ ชำระดอกเบี้ยให้แก่บริษัท (ผู้รับเหมา) ดอกเบี้ยที่บริษัทฯ
ได้ชำระตามสัญญา บริษัท (ผู้รับเหมา) จะต้องนำมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่ ซึ่ง
กรมสรรพากรได้มีหนังสือ แจ้งว่า ดอกเบี้ยที่บริษัท (ผู้ว่าจ้าง) ได้ชำระให้แก่บริษัท (ผู้รับเหมา)กรณี
เลือกชำระหนี้ภายในระยะเวลาที่ยืดออกไป 390 วัน ตามสัญญาว่าจ้างที่มีข้อตกลงการชำระค่าบริการไว้
ล่วงหน้าถือเป็นส่วนหนึ่งของราคาค่าบริการที่บริษัท (ผู้รับเหมา) ต้องนำมารวมคำนวณเป็นมูลค่าของ
ฐานภาษีเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามมาตรา 79 แห่งประมวลรัษฎากร
ต่อมาบริษัทฯ ได้ขอทราบเพิ่มเติมว่า เมื่อครบกำหนด 390 วัน หลังจากเสร็จงานดังกล่าว
แล้วบริษัทฯ ยังไม่จ่ายเงินให้แก่ผู้รับเหมาแต่ได้ตกลงจะจ่ายดอกเบี้ยตามอัตรา MOR + 1 คิดหลังจากที่
ครบกำหนด 390 วันดังกล่าว จนกว่าจะชำระเสร็จ บริษัทฯ จึงขอทราบว่าดอกเบี้ยดังกล่าวจะต้องนำ
มารวมคำนวณเป็นมูลค่าของฐานภาษีเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
แนววินิจฉัย
: ดอกเบี้ยที่บริษัทฯ ต้องชำระให้แก่
ผู้รับเหมา
เนื่องจากการที่บริษัทฯ ผิดนัดไม่ชำระเงินให้
ผู้รับเหมาไม่ถือเป็นรายรับจากการขายสินค้าหรือการให้บริการ ตามมาตรา 77/1 (8) และ 77/1
(10) แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่อย่างใด
เลขตู้
: 61/27347
ขอบคุณบทความจาก ::
https://www.rd.go.th
ประกาศบทความโดย ::
www.prosofterp.com
1165
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com