info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft Asset Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0702 (กม.13)/497 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการรับรู้รายได้และรายจ่ายเงินค่าภาษีสรรพสามิตสำหรับสินค้าเสื่อมคุณภาพ
เลขที่หนังสือ กค 0702 (กม.13)/497 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการรับรู้รายได้และรายจ่ายเงินค่าภาษีสรรพสามิตสำหรับสินค้าเสื่อมคุณภาพ
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0702 (กม.13)/497 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการรับรู้รายได้และรายจ่ายเงินค่าภาษีสรรพสามิตสำหรับสินค้าเสื่อมคุณภาพ
เลขที่หนังสือ กค 0702 (กม.13)/497 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการรับรู้รายได้และรายจ่ายเงินค่าภาษีสรรพสามิตสำหรับสินค้าเสื่อมคุณภาพ
ย้อนกลับ
เลขที่หนังสือ
: กค 0702(กม.13)/497
วันที่
: 17 มีนาคม 2554
เรื่อง
: ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการรับรู้รายได้และรายจ่ายเงินค่าภาษีสรรพสามิตสำหรับสินค้าเสื่อมคุณภาพ
ข้อกฎหมาย
: มาตรา 65 ตรี (13) แห่งประมวลรัษฎากร
ข้อหารือ
กรณีการรับรู้รายได้และรายจ่ายเงินค่าภาษีสรรพสามิตสำหรับสินค้าเสื่อมคุณภาพ โดยมีข้อเท็จจริงสรุปได้ ดังนี้
1. บริษัทฯ ประกอบกิจการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เบียร์
2. ในการเสียภาษีสรรพสามิต ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวต้องนำส่งภาษีสรรพสามิตก่อนนำสินค้าออกจากโรงงานผลิต
3. ภาษีสรรพสามิตที่เสียไป บริษัทฯ ยังมิได้รับรู้เป็นรายจ่ายในการดำเนินกิจการ แต่ถือเป็นต้นทุนสินค้า และจะรับรู้เป็นรายจ่ายเมื่อได้ขายสินค้า
4. ในกรณีที่สินค้าเสื่อมคุณภาพ บริษัทฯ จะต้องแจ้งกรมสรรพสามิตก่อน เพื่อขออนุมัติให้ทำลายสินค้า
บริษัทฯ ขอหารือ ดังนี้
1 กรณีที่บริษัทฯ ได้รับอนุมัติให้ทำลายสินค้าจากเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต บริษัทฯ มีสิทธิรับรู้รายจ่ายภาษีสรรพสามิตที่เสียไป เป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับอนุมัติให้ทำลายสินค้า ถูกต้องหรือไม่
2 หากต่อมาบริษัทฯ ได้รับคืนภาษีสรรพสามิตที่เกี่ยวข้องกับสินค้าที่ทำลายไปแล้ว บริษัทฯ จะต้องรับรู้ภาษีสรรพสามิตที่ได้รับคืน เป็นรายได้ในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีที่เจ้าหน้าที่สรรพสามิตอนุมัติให้คืนภาษีสรรพสามิต ถูกต้องหรือไม่
แนววินิจฉัย
หากค่าภาษีสรรพสามิต บริษัทฯ ได้ถือเป็นต้นทุนขายของสินค้าที่เสื่อมคุณภาพ บริษัทฯ มีสิทธินำภาษีสรรพสามิตดังกล่าว ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลได้ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับอนุมัติให้ทำลายสินค้า ไม่ต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (13) แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบกับคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 79/2541 เรื่อง แนวทางปฏิบัติ กรณีการทำลายของเสีย สินค้าที่เสื่อมคุณภาพ สินค้าที่มีตำหนิ สินค้าที่หมดสมัยนิยม สินค้าที่หมดอายุ และเศษซาก ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541
เลขตู้
: 74/37725
ขอบคุณบทความจาก ::
www.rd.go.th
497
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com