info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft Asset Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0702/37 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำผลขาดทุนประจำปีที่เกิดขึ้นในช่วงเวลายกเว้นภาษีเงินได้ไปหักจากกำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับยกเว้นภาษี
เลขที่หนังสือ กค 0702/37 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำผลขาดทุนประจำปีที่เกิดขึ้นในช่วงเวลายกเว้นภาษีเงินได้ไปหักจากกำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับยกเว้นภาษี
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0702/37 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำผลขาดทุนประจำปีที่เกิดขึ้นในช่วงเวลายกเว้นภาษีเงินได้ไปหักจากกำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับยกเว้นภาษี
เลขที่หนังสือ กค 0702/37 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำผลขาดทุนประจำปีที่เกิดขึ้นในช่วงเวลายกเว้นภาษีเงินได้ไปหักจากกำไรสุทธิที่เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รับยกเว้นภาษี
ย้อนกลับ
เลขที่หนังสือ
: กค 0702/พ./397
วันที่
: 5 มีนาคม 2551
เรื่อง
: ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีค่าเสียหายจากการละเมิดลิขสิทธิ์
ข้อกฎหมาย
: มาตรา 40(3) และมาตรา 77/2(1) แห่งประมวลรัษฎากร
ข้อหารือ
บริษัท ท. ขอหารือเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีค่าเสียหายจากการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยมีรายละเอียดสรุปความได้ว่า บริษัทฯ เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ประกอบกิจการให้บริการโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก เนื่องจาก บริษัทฯ ถูกละเมิดลิขสิทธิ์จากการแพร่เสียงแพร่ภาพรายการโทรทัศน์ ในระบบสัญญาณดาวเทียม DStv จึงได้ดำเนินคดีกับ ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ดังกล่าว ซึ่งผู้ละเมิดบางรายที่ถูกดำเนินคดีนั้นได้ตกลงทำสัญญาประนีประนอมยอมความกับบริษัทฯ โดย ยินยอมชำระค่าเสียหายจากการละเมิดรายละ 60,000 - 120,000 บาท เพื่อระงับการดำเนินคดีในชั้นศาล บริษัทฯ ได้กำหนด เงื่อนไขในสัญญาประนีประนอมยอมความ ดังนี้
1. ผู้ละเมิดต้องชำระเงินค่าเสียหายจากการละเมิดลิขสิทธิ์ ให้แก่บริษัทฯ
2. ผู้ละเมิดต้องทำสัญญาบอกรับการเป็นสมาชิกรายการโทรทัศน์ของบริษัทฯ ประเภทโครงการ เป็นระยะ เวลาอย่างน้อย 5 ปี
บริษัทฯ จึงขอทราบว่า ค่าเสียหายที่บริษัทฯ ได้รับจากการละเมิดลิขสิทธิ์ตาม 1. นั้น อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือไม่
แนววินิจฉัย
กรณีบริษัทฯ ถูกละเมิดลิขสิทธิ์จากการแพร่เสียงแพร่ภาพรายการโทรทัศน์ และบริษัทฯ ตกลงทำสัญญาประนีประนอม ยอมความกับผู้ละเมิด โดยผู้ละเมิดยินยอมจ่ายค่าเสียหายจากการละเมิดให้แก่บริษัทฯ รายละ 60,000 - 120,000 บาท การจ่าย ค่าเสียหายดังกล่าว ไม่ว่าจะเกิดจากการจ่ายตามสัญญาการให้ใช้ลิขสิทธิ์หรือเกิดจากการเรียกค่าเสียหายเนื่องจากการละเมิด ลิขสิทธิ์ก็ตาม หากไม่ได้เป็นการจ่ายโดยคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลที่สั่งให้จ่ายในลักษณะของค่าเสียหายจากการละเมิด ลิขสิทธิ์แล้ว ย่อมถือเป็นการจ่ายค่าลิขสิทธิ์ตามมาตรา 40(3) แห่งประมวลรัษฎากร อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตาม มาตรา 77/2(1) แห่งประมวลรัษฎากร
เลขตู้
: 71/35673
ขอบคุณบทความจาก :
:
www.rd.go.th
528
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com