info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft Asset Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0706(กม.08)/8157 ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการประกอบกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
เลขที่หนังสือ กค 0706(กม.08)/8157 ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการประกอบกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0706(กม.08)/8157 ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการประกอบกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
เลขที่หนังสือ กค 0706(กม.08)/8157 ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการประกอบกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ย้อนกลับ
เลขที่หนังสือ
: กค 0706(กม.08)/8157
วันที่
: 17 สิงหาคม 2550
เรื่อง
: ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการประกอบกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ข้อกฎหมาย
: มาตรา 79 มาตรา 79/3 และมาตรา 85/1(1) แห่งประมวลรัษฎากร
ข้อหารือ
บริษัท ต. จำกัด ประกอบกิจการรับเหมาก่อสร้าง บริษัทฯ ได้ยื่นแบบคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ. 01) เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2549 และระบุวันเริ่มประกอบการวันที่ 16 กันยายน 2548 สำนักงานสรรพากรพื้นที่ ได้ตรวจปฏิบัติการภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับเดือนภาษีธันวาคม 2548 ปรากฏว่า บริษัทฯ ได้ทำสัญญารับเหมาก่อสร้าง กับ นาง ซ. เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2548 มีมูลค่า 12,000,000 บาท โดยรวมภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ด้วย บริษัทฯ ได้รับค่าจ้างล่วงหน้าในวันที่ 30 ธันวาคม 2548 จำนวนเงิน 1,700,000 บาท แต่บริษัทฯ ไม่ได้นำรายได้ดังกล่าวมายื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ. 30) ให้ถูกต้อง
แนววินิจฉัย
หากค่าตอบแทนที่บริษัทฯ ได้รับหรือพึงได้รับจากการให้บริการเกิน 1,800,000 บาทต่อปี บริษัทฯ จะต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีรายรับเกิน 1,800,000 บาท ทั้งนี้ ตามมาตรา 79 และมาตรา 85/1 (1) แห่งประมวลรัษฎากร เกณฑ์การคำนวณวันที่มูลค่าของฐานภาษีสำหรับการให้บริการเกิน 1,800,000 บาท ต่อปี หรือไม่ ต้องถือมูลค่าของฐานภาษีในวันที่ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น ตามมาตรา 79/3 แห่งประมวลรัษฎากร ดังนั้น หากบริษัทฯ มีมูลค่าของฐานภาษีในปีภาษี 2548 ไม่เกิน 1,800,000 บาท จึงยังไม่เกินมูลค่าของฐานภาษีของกิจการขนาดย่อม ซึ่งได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามพระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว บริษัทฯ จึงยังไม่มีหน้าที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในปีภาษีดังกล่าว
เลขตู้
: 70/35231
ขอบคุณบทความจาก :
:
www.rd.go.th
441
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com