info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft Asset Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0706/4613 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีสิทธิประโยชน์ทางภาษีของเงินสมทบที่นายจ้างนำส่งเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เลขที่หนังสือ กค 0706/4613 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีสิทธิประโยชน์ทางภาษีของเงินสมทบที่นายจ้างนำส่งเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0706/4613 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีสิทธิประโยชน์ทางภาษีของเงินสมทบที่นายจ้างนำส่งเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เลขที่หนังสือ กค 0706/4613 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีสิทธิประโยชน์ทางภาษีของเงินสมทบที่นายจ้างนำส่งเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ย้อนกลับ
เลขที่หนังสือ
: กค 0706/4613
วันที่
: 8 พฤษภาคม 2550
เรื่อง
: ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีสิทธิประโยชน์ทางภาษีของเงินสมทบที่นายจ้างนำส่งเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ข้อกฎหมาย
: มาตรา 65 ตรี (2) แห่งประมวลรัษฎากร
ข้อหารือ
: บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนในฐานะบริษัทจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ แจ้งว่า ปัจจุบันบริษัทนายจ้างหนึ่งราย สามารถจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเพื่อเป็นสวัสดิการให้แก่ลูกจ้างได้มากกว่าหนึ่งกองทุน ซึ่งแต่ละกองทุนมีนโยบายการลงทุนที่แตกต่างกัน เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกสามารถเลือกนโยบายการลงทุนที่เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละบุคคล บริษัทฯ จึงขอทราบว่า นายจ้างบางรายมีความกังวลใจว่า เงินสมทบที่นายจ้างนำส่งเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพหลายกองทุนรวมกันในอัตราที่กำหนดไว้ในข้อบังคับกองทุนแต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้างตามที่กฎหมายกำหนด บริษัทนายจ้างมีสิทธินำมาถือเป็นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่จ่ายได้ทั้งหมดทุกกองทุนได้หรือไม่
แนววินิจฉัย
: บริษัทนายจ้างมีสิทธินำเงินที่บริษัทจ่ายสมทบเข้ากองทุน แต่ละกองทุนรวมกัน ในอัตราไม่ต่ำกว่าอัตราเงินสะสมของลูกจ้างแต่ไม่เกินร้อยละสิบห้าของค่าจ้างตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 มาถือเป็นรายจ่ายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีที่จ่ายเท่ากับเงินที่บริษัทได้จ่ายสมทบตามอัตราที่กำหนดในข้อบังคับของกองทุน โดยต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนแต่ละกองทุน ภายในสามวันทำการ นับแต่วันที่มีการจ่ายค่าจ้างและต้องจ่ายเข้ากองทุนในรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกับที่มีการจ่ายค่าจ้าง ทั้งนี้ ตามมาตรา 65 ตรี (2) แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบกับ ข้อ 3 และข้อ 4 แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 183 (พ.ศ. 2533) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพลงวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2533
เลขตู้
: 70/34899
ขอบคุณบทความจาก :
:
www.rd.go.th
365
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com