info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
บทความที่น่าสนใจ
ตัดจำหน่ายทรัพย์สินสามารถตัดจำหน่ายพร้อมกับรอตั้งหนี้ลูกหนี้ โดยระบุรายละเอียดในการตัดขาย
ตัดจำหน่ายทรัพย์สินสามารถตัดจำหน่ายพร้อมกับรอตั้งหนี้ลูกหนี้ โดยระบุรายละเอียดในการตัดขาย
ย้อนกลับ
หน้าแรก
บทความที่น่าสนใจ
ตัดจำหน่ายทรัพย์สินสามารถตัดจำหน่ายพร้อมกับรอตั้งหนี้ลูกหนี้ โดยระบุรายละเอียดในการตัดขาย
ตัดจำหน่ายทรัพย์สินสามารถตัดจำหน่ายพร้อมกับรอตั้งหนี้ลูกหนี้ โดยระบุรายละเอียดในการตัดขาย
ย้อนกลับ
Asset Retirement (ตัดจำหน่ายทรัพย์สิน)
คือ การเลิกใช้สินทรัพย์ที่เกิดจากการหมดอายุ, เสื่อมสภาพ หรือเก่าล้าสมัยให้เกิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นกับสินทรัพย์ ซึ่งในทางบัญชีเมื่อมีการเลิกใช้งานสินทรัพย์จะต้องผ่านรายการเป็นการตัดจำหน่ายสินทรัพย์นั้นออกไปจากทะเบียนสินทรัพย์
ลักษณะของการตัดจำหน่ายสินทรัพย์ แบ่งออกเป็นดังนี้
1) การขายที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์
2) การเลิกใช้ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์
3) สินทรัพย์เสียหายจากอุบัติภัยต่าง ๆ
4) การแลกเปลี่ยนที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์
1. การขายสินทรัพยกรณีการขายวิธีนี้ถ้าสินทรัพย์ไม่มีราคาซาก การขายจะ ก่อให้เกิดกำไร แต่ถ้ามีราคาซาก เงินสดที่ได้รับสูงกว่ามูลค่าซากย่อมเกิดผลกำไรแต่ถ้าเงินได้รับต่ำก็ขาดทุน
2. การเลิกใช้ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ กรณีนี้เป็นการเลิกใช้งานเนื่องจากหมดอายุและมิได้ขายจึงไม่การคำนวณกำไรหรือขาดทุน ยกเว้นสินทรัพย์ที่มีราคาซากคงอยู่ให้ บันทึกขาดทุนจากการเลิกใช้
3. สินทรัพย์เสียหายจากอุบัติภัยต่าง ๆ เมื่อเกิด ไฟไหม้ น้ำท่วม โจรกรรม กิจการต้องบันทึกตัดจำหน่ายสินทรัพย์ที่เสียหายออกจากบัญชีทำให้เกิดผลขาดทุนขึ้น ส่วนราคาซากอาจนำไปขายเพื่อชดเชยผลขาดทุนได้
4. การนำสินทรัพย์เก่าไปแลกเปลี่ยน (Assets Acquired by Exchange) ราคาทุนของสินทรัพย์ใหม่ ควรบันทึก ด้วยราคาตลาดของสินทรัพย์ที่นำไปแลกเปลี่ยน หรือ ราคาตลาดของสินทรัพย์ใหม่ แล้วแต่ราคาใดจะเป็นราคาที่มีหลักฐานเป็นที่ทราบแน่นอน ถ้าหากไม่ทราบราคาตลาดทั้ง 2 กรณี ให้ใช้ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ที่นำไปแลก เป็นราคาทุนของสินทรัพย์ใหม่ เมื่อมีการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้น ต้องโอนบัญชีสินทรัพย์เดิม พร้อมค่าเสื่อมราคาสะสมจนถึงวันแลกเปลี่ยน และบันทึกการจ่ายเงินสดเพิ่มเติม ตามที่ตกลงกัน รวมทั้งกำไรขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน
ประกาศบทความโดย
::
www.prosofterp.com
19817
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com