info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0811/01611 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำเงินสำรองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหนี้สูญฯ มาเป็นรายจ่าย
เลขที่หนังสือ กค 0811/01611 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำเงินสำรองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหนี้สูญฯ มาเป็นรายจ่าย
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
ข้อหารือภาษีอากร
เลขที่หนังสือ กค 0811/01611 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำเงินสำรองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหนี้สูญฯ มาเป็นรายจ่าย
เลขที่หนังสือ กค 0811/01611 ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำเงินสำรองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหนี้สูญฯ มาเป็นรายจ่าย
ย้อนกลับ
เลขที่หนังสือ
: กค 0811/01611
วันที่
: 5 กุมภาพันธ์ 2541
เรื่อง
: ภาษีเงินได้นิติบุคคล กรณีการนำเงินสำรองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหนี้สูญฯ มาเป็นรายจ่าย
ข้อกฎหมาย
: ประเด็นปัญหา
ข้อหารือ
: 1. พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2540 เป็นการแก้ไขความใน (1) (ค) ของมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 31) พ.ศ. 2534 ซึ่งในขณะที่ออกพระราชบัญญัติดังกล่าว บริษัทหลักทรัพย์อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุนฯ จึงได้รับประโยชน์จากพระราชบัญญัติดังกล่าวด้วย โดยสามารถนำเงินสำรองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญ สำหรับหนี้จากการให้สินเชื่อมาเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้บางส่วน ใช่หรือไม่
2. ในขณะที่นำพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2540 ออกใช้บังคับ การกำกับดูแลธุรกิจหลักทรัพย์อยู่ภายใต้บทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์อยู่แล้ว ซึ่งรวมถึงการกำกับดูแลในเรื่องการตั้งค่าเผื่อหนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญด้วย แต่ในพระราชกำหนดดังกล่าวมิได้ระบุถึงการตั้งสำรองตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ไว้ บริษัทหลักทรัพย์ซึ่งเป็นนิติบุคคลเดิมตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 31) พ.ศ. 2534 และมีการระบุประเภทนิติบุคคลดังกล่าวไว้ในพระราชกำหนดฯ จะยังคงได้รับประโยชน์ตามความในพระราชกำหนดฉบับข้างต้นหรือไม่ สำหรับการตั้งสำรองค่าเผื่อหนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
แนววินิจฉัย
: ตามมาตรา 65 ตรี (1) (ค) แห่งประมวลรัษฎากร ถึงแม้จะระบุว่าเป็นบริษัทหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ แต่เมื่อบริษัทหลักทรัพย์เปลี่ยนไปอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ก็ให้ถือว่าบริษัทหลักทรัพย์ที่อ้างถึงในมาตรา 65 ตรี (1) (ค) แห่งประมวลรัษฎากรดังกล่าว เป็นบริษัทหลักทรัพย์ ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้ ตามมาตรา 321 ของหมวด 13 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
เลขตู้
: 61/26380
ขอบคุณบทความจาก ::
www.rd.go.th
543
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com