info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
กฎหมาย/ภาษี
รู้สิทธิยกเว้นและค่าลดหย่อน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
รู้สิทธิยกเว้นและค่าลดหย่อน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
กฎหมาย/ภาษี
รู้สิทธิยกเว้นและค่าลดหย่อน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
รู้สิทธิยกเว้นและค่าลดหย่อน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ย้อนกลับ
รู้สิทธิยกเว้นและค่าลดหย่อน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
บุคคลเมื่อมีเงินได้พึงประเมินตามประมวลรัษฎากร มาตรา 40(1) – (8) เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้มีเงินได้ประมวลรัษฎากร จึงกำหนดให้หักค่าลดหย่อน
(Allowances Exemptions) ได้อีก ค่าลดหย่อนแตกต่างกับค่าใช้จ่ายในข้อที่ว่า ค่าใช้จ่ายเป็นต้นทุนหรือเงินที่จ่ายไปเพื่อให้ได้ซึ่งเงินได้ แต่ค่าลดหย่อนเป็นตัวบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้เสียภาษี ทำให้เสียภาษีน้อยลงหรืออาจจะไม่ต้องเสียภาษีเลยก็ได้ ยามใดที่รัฐบาลเห็นว่าประชาชนต้องเผชิญกับปัญหาเศรษฐกิจ รายได้ไม่พอกับรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น รัฐบาลก็อาจเสนอแก้กฎหมายให้เพิ่มค่าลดหย่อนมากขึ้น เมื่อค่าลดหย่อนเพิ่มขึ้น เงินได้สุทธิที่จะนำไปคำนวณภาษีก็จะลดน้อยลง ภาษีที่จะต้องเสียก็ลดน้อยลงหรืออาจจะ
ไม่ต้องเสียภาษีเลยดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนอกจากค่าลดหย่อนจะเป็นตัวบรรเทาภาระภาษีแล้วยังเป็นเครื่องมือของรัฐบาลในการเสริมสร้างความมั่นคงให้แก่ชีวิตและครอบครัวของประชาชนกับเพื่อส่งเสริมความกตัญญู การศึกษา และการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันของสังคมสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ใช้ในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานั้นมีประเด็นที่น่าสนใจหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบการยกเว้นภาษีเงินได้บางชนิดบางประเภท หรือการให้สิทธิลดหย่อนในอัตราพิเศษมากกว่าปกติ ก็เป็นเรื่องที่ควรจะได้พิจารณาอย่างรอบคอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายที่ออกใหม่ในปี 52 ที่ผ่านมานี้มีการแก้ไขประมวลรัษฎากรในหลายประเด็นยกตัวอย่างเช่น มาตรา 47(1)(ฎ) กรณีการหัก
ลดหย่อนค่าอุปการะเลี้ยงดูคนพิการ และคนทุพพลภาพ ประกอบกับกรมสรรพากรได้ออกประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 182)มาตรการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ ซึ่งออกเป็นกฎกระทรวงฉบับที่ 271(พ.ศ. 2552)ฯ ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 178)ฯลฯ ผู้เขียนจึงขอนำเสนอเนื้อหาสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่มีลักษณะพิเศษไปจากการหักค่าใช้จ่ายหรือค่าลดหย่อนตามปกติในการคำนวณภาษีพร้อมกับค่าลดหย่อนอื่นๆ ด้วย เพื่อท่านผู้อ่านจะได้นำไปใช้ในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปีภาษี 2552 ที่จะต้องยื่นแบบภายในเดือนมีนาคม 2553 นี้
โดยมีกรอบการนำเสนอคร่าวๆ ดังนี้
1. การบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์
2. การหักลดหย่อนค่าอุปการะเลี้ยงดูคนพิการ และคนทุพพลภาพ
3. ยกเว้นภาษีให้ผู้สูงอายุ (65 ปีบริบูรณ์)สำหรับเงินได้ 190,000 บาท
4. เบี้ยประกันชีวิต
5. ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อที่อยู่อาศัย
6. ค่าลดหย่อนบุพการี
7. เบี้ยประกันสุขภาพบุพการี
Click
Download
รายละเอียด รู้สิทธิยกเว้นและค่าลดหย่อน ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคลิกได้ที่รูปภาพ
ข
อบคุณบทความจาก ::
สรรพากรสาส์น
ประกาศบทความโดย ::
www.prosofterp.com
370
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com