• Home

  • Blog

  • การเงินการบัญชี

  • การทำลายสินค้าอย่างไร จึงจะลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ให้ง่ายและถูกต้องตาม กม. ภาษี

การทำลายสินค้าอย่างไร จึงจะลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ให้ง่ายและถูกต้องตาม กม. ภาษี

  • Home

  • Blog

  • การเงินการบัญชี

  • การทำลายสินค้าอย่างไร จึงจะลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ให้ง่ายและถูกต้องตาม กม. ภาษี

การทำลายสินค้าอย่างไร จึงจะลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ให้ง่ายและถูกต้องตาม กม. ภาษี


การทำลายสินค้าอย่างไร จึงจะลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ให้ง่ายและถูกต้องตาม กม. ภาษี

การคำนวณรายจ่ายสาหรับของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต สินค้าที่เสื่อมคุณภาพ สินค้าที่มีตาหนิสินค้าที่หมดสมัยนิยม สินค้าที่หมดอายุและเศษซากท่านจะต้องเสียภาษีหรือไม่ ? ถ้าได้คำตอบว่าต้องเสียเพราะประมวลรัษฎากรถือเป็นการ “ ขาย ” แต่ถ้าเราอยากได้คำตอบว่าไม่ต้องเสียภาษี จะทำอย่างไร ? คำตอบก็คือต้องเป็นการ “ ทำลาย ” สินค้าเท่านั้นคำว่า “ ทำลาย ” คำอธิบายที่ชัดแจ้งคือการทำให้สินค้า “ไม่มี” หรือไม่อยู่ในสภาพที่เป็นสินค้า เช่น การเผา การทุบ การบด การตัดเป็นชิ้นๆ การเท ฝัง กลบ(กรณีเป็นของเหลว) เป็นต้น แต่ถ้าสินค้ายังมีตัวตนเป็นสินค้าให้เห็น ไม่ถือเป็นการทำลาย เช่น การนำสินค้าชำรุดไปบริจาคหรือมอบให้หน่วยงานต่างๆ ซึ่งเมื่อไม่ใช่การทำลายสินค้า แต่ใช้วิธีไปมอบให้คนอื่นแทน ภาษีจะตามมาเจอจนได้ต้องระวังให้ดี เพราะฉะนั้นหากจะทำลาย ก็แปลว่าต้องทำลายให้หมดไปจริง ๆ

Click Download รายละเอียดการทำลายสินค้าอย่างไร จึงจะลงเป็นรายจ่ายทางภาษีได้ให้ง่ายและถูกต้องตาม กม. ภาษี คลิกได้ที่รูปภาพ





ขอบคุณบทความจาก :: กรมสรรพากร
ประกาศบทความโดย :: www.prosofterp.com
 494
Visitor
Get started for free today. ทดลองใช้งาน

Create a website for free Online Stores