info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
การเงินการบัญชี
การบัญชีสำหรับมูลค่ายุติธรรม
การบัญชีสำหรับมูลค่ายุติธรรม
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
การเงินการบัญชี
การบัญชีสำหรับมูลค่ายุติธรรม
การบัญชีสำหรับมูลค่ายุติธรรม
ย้อนกลับ
การบัญชีสำหรับมูลค่ายุติธรรม
การวัดมูลค่าองค์ประกอบงบการเงินในงบแสดงฐานะการเงินและงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จมีหลายวิธีในการกำหนดมูลค่าได้แก่ ราคาทุนเดิม ราคาในปัจจุบัน มูลค่าที่จะได้รับ และมูลค่ายุติธรรม ซึ่งการเลือกใช้วิธีการใดในการวัดมูลค่าขึ้นอยู่กับความต้องการของกิจการและจะต้องเป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปและมาตรฐานการบัญชีการวัดมูลค่าหรือการเปิดเผยข้อมูลในปัจจุบัน มีการนำแนวความคิดในเรื่องมูลค่ายุติธรรม (Fair Value) มาใช้กันมากขึ้น จะเห็นได้จากการที่มาตรฐานการบัญชีหลายๆ ฉบับได้กำหนดให้การวัดมูลค่าโดยใช้มูลค่ายุติธรรมเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการวัดมูลค่าสินทรัพย์หรือหนี้สิน (เช่น ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สามารถเลือกแสดงด้วยราคาที่ตีใหม่ได้) รวมทั้งมีมาตรฐานการบัญชีบางฉบับกำหนดให้ใช้การวัดมูลค่าด้วยวิธีมูลค่ายุติธรรมเท่านั้น (เช่น เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เพื่อค้าหลักทรัพย์เผื่อขายต้องแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมณ วันสิ้นงวด) รวมทั้งแม่บทการบัญชีของคณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ(International Accounting Standard Board:IASB ได้ปรับลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงินให้ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance)และการเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Representation Faithfulness) เป็นลักษณะหลัก เนื่องจากลักษณะดังกล่าวสอดคล้องกับมูลค่ายุติธรรมนั่นเอง การบัญชีสำหรับมูลค่ายุติธรรมนี้เป็นการเปลี่ยนแนวคิดจากราคาทุน (Cost Base) เป็นมูลค่ายุติธรรม (Fair Value Base) เพื่อเป็นการสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของระดับราคาของรายการในงบการเงิน
ราคาทุนเดิม
แม่บทการบัญชีของคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีฯ ได้ให้คำจำกัดความของราคาทุนเดิม (HistoricalCost) ว่าหมายถึง การบันทึกสินทรัพย์ด้วยจำนวนเงินหรือรายการเทียบเท่าเงินสดที่จ่ายไปหรือบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งที่นำไปแลกสินทรัพย์มา ณ เวลาที่ได้มาซึ่งสินทรัพย์นั้น และการบันทึกหนี้สินด้วยจำนวนเงินที่ได้รับจากการก่อภาระผูกพัน หรือบันทึกด้วยจำนวนเงินสด
หรือรายการเทียบเท่าเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายเพื่อชำระหนี้สินที่เกิดจากการดำเนินงานตามปกติของกิจการ
Click
Download
รายละเอียดการบัญชีสำหรับมูลค่ายุติธรรม
คลิกได้ที่รูปภาพ
ข
อบคุณบทความจาก ::
สรรพากรสาส์น
ประกาศบทความโดย ::
www.prosofterp.com
548
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com