• หน้าแรก

  • Manual

  • วิธีการบันทึก Barcode ในระบบ iERP Fixed Asset มีขั้นตอนการทำงานอย่างไร

วิธีการบันทึก Barcode ในระบบ iERP Fixed Asset มีขั้นตอนการทำงานอย่างไร

  • หน้าแรก

  • Manual

  • วิธีการบันทึก Barcode ในระบบ iERP Fixed Asset มีขั้นตอนการทำงานอย่างไร

วิธีการบันทึก Barcode ในระบบ iERP Fixed Asset มีขั้นตอนการทำงานอย่างไร

วิธีการบันทึก Barcode ในระบบ iERP Fixed Assetมีขั้นตอนการทำงานอย่างไร

1.สามารถเข้าไปที่ Warehouse Management > Setup > ตั้งค่าระบบคลัง > ช่อง บาร์โค๊ด ให้กำหนดรายละเอียดตามที่บริษัทของท่านต้องการใช้


2.จากนั้นไปที่ Asset Management > Setup >Master> ทรัพย์สิน > คลิกขวาสร้างข้อมูลทรัพย์สินที่มี Barcode


3.จากนั้นจะทำการปรากฏหน้าต่าง สร้างข้อมูลทรัพย์สิน มาให้ระบุตามด้านล่างจากนั้น > ตกลง


4.จะขึ้นหน้าต่างทรัพย์สิน ให้กำหนดรายละเอียดตามกรอบสีแดง และสีน้ำเงินใส่หมายเลขบาร์โค๊ด จากนั้นบันทึก


5.พอทำการบันทึกจะได้เอกสารของทรัพย์สินตามตัวอย่าง


6.จากนั้นเข้าไปที่ Asset Management > Transaction > ขึ้นทะเบียนทรัพย์สิน > คลิกขวาสร้างเอกสารขึ้นทะเบียนทรัพย์สิน


7. จะปรากฏหน้าต่าง สร้างเอกสารขึ้นทะเบียนทรัพย์สิน
รหัสทรัพย์สิน : ให้ใส่เลขที่บาร์โค๊ด จากนั้นให้ Enter จะปรากฏ รหัสทรัพย์สินขึ้นมาให้อัตโนมัติ ตามรูปที่ 8


8.พอทำการ Enter จะเปลี่ยนจากรหัส บาร์โค๊ด เป็นรหัสทรัพย์สินแทน ตามตัวอย่างรูป > ตกลง


9.เมื่อคลิก ตกลง จะปรากฏ หน้าต่างขึ้นทะเบียนเพื่อบันทึกรายละเอียดตามกรอบสีแดงตามตัวอย่างและทำกรบันทึก

ตัวอย่าง :

1.ขึ้นทะเบียนทรัพย์สินไปแล้วเมื่อวันที่ 25/01/2566 ด้วยมูลค่าโพสต์ 15,000 บาทของสินค้าตามด้านล่าง
(รหัสสินค้า FFF23012500001 ชื่อสินค้า โซฟาผ้า Index 180*190 หมายเลข Barcode 6637900203228)

2.ไปทำการคำนวณค่าเสื่อมทรัพย์สิน เพื่อต้องการทราบว่า ทรัพย์สิน รหัสสินค้า FFF23012500001 นี้มีค่าเสื่อมเท่าไร


10.เข้าไปที่ Asset Management > Transaction > คำนวณค่าเสื่อมทรัพย์สิน > คลิกขวา สร้างเอกสารคำนวณค่าเสื่อมทรัพย์สิน ตามรูป


11.ขั้นตอนที่ 1 ตัวอย่าง

> วันทีคำนวณค่าเสื่อม วันที่ 31/01/2566 ให้ตรงกับวันที่คิดมูลค่า
> รหัสทรัพย์สิน : ใส่หมายเลข Barcode พอ Enter จะปรากฏหน้าต่างทรัพย์สินมาให้ จากนั้นให้ Enter อีกครั้ง โปรแกรมจะขึ้นเป็นเลขที่สินค้าให้อัตโนมัติ ตามรูปที่ 12


12.พอ Enter แล้วจะขึ้นรหัสสินค้ามาให้ ตามตัวอย่างรูป จากนั้นให้ Select ขึ้นมา


13.เมื่อเลือกรหัสทรัพย์สินมาแล้ว ให้ทำการ Next


14. Step 2 (Depre.Area01) เป็นสินทรัพย์สินใหม่


15. Step 2 (Depre.Area01) จะมีการคิดค่าเสื่อมขึ้น ตั้งแต่วันที่ 25-31/01/2566 จะมีการคิดค่าเสื่อม 57.50 มูลค่าทางบัญชีเอา (15000-57.50) จะได้ 14,942.50 แล้วคลิก Next


16. เมื่อคลิก next แล้วจะขึ้นให้ Finish


17.เข้าไปที่ Asset Management > Transaction > ตรวจนับทรัพย์สิน > คลิกขวา สร้างเอกสารตรวจนับทรัพย์สิน ตามรูป


18.พอคลิกขวามาแล้วจะปรากฏหน้าต่างตรวจนับทรัพย์สิน
1.ใส่หมายเลขบาร์โค๊ด > Enter / 2.จะขึ้นหน้าต่าง ทรัพย์สิน / 3.คลิก Asset Barcode / 4.ให้ใส่หมายเลข บาร์โค๊ด / 5.จากนั้น Enter


19.พอทำการ Enter ลำดับ 5 จากหมายเลขบาร์โค๊ด จะเปลี่ยนเป็นรหัสสินค้าแทนตามตัวอย่างด้านล่าง > Select ขึ้นมา


20.เมื่อมีการ Select แล้วรายละเอียดจะขึ้นมาที่หน้าต่างตรวจสอบทรัพย์สินตามรูปภาพ


เพิ่มเติม : กรณีที่ทำการตรวจนับยอดจริงที่ตรวจนับได้ ถ้ามีผลต่างน้อยหรือมากกว่า หรือติดลบ ต้องทำการกรอกข้อมูลเองในช่องจำนวนตรวจนับ โดยลูกค้าต้องไปดูจากยอดจริง เพื่อมาใส่ในรายการเอง (เนื่องจากโปรแกรมไม่สามารถทราบได้ว่าส่วนที่เกินหรือขาดมาจากไหน)
คือ เป็นการกรอกโดยกึ่ง Manual ในการตรวจนับสินค้า

จำนวนคลัง : เป็นจำนวนทรัพย์สินล่าสุด ที่อยู่ในคลัง
จำนวนตรวจนับ : เป็นจำนวนนับทรัพย์สินปัจจุบัน

21.จากข้อที่ 20 เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยก็ทำการบันทึก จะได้ดังตามรูปภาพ
 549
ผู้เข้าชม
Get started for free today. ทดลองใช้งาน

สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์