info@prosofterp.com
Prosoft Asset Management
081-359-6934
Prosoft WINSpeed Cloud
081-359-6933
Menu
Home
Product
Prosoft WINSpeed Cloud
Prosoft iERP Asset
Feature
Promotion
News & Promotion
E-Newsletter
Promotion
Event
บทความที่น่าสนใจ
Blog
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
Services
จองอบรม Online
FAQs
คู่มือการใช้งาน
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Manual
Prosoft Assets Management
Prosoft WINSpeed Cloud
Help
System Requirement
Guidelines
About Us
About Us
Personal Data Protection Act
Contact Us
ทดลองใช้งานฟรี
หน้าแรก
Blog
การเงินการบัญชี
การวางแผนและควบคุมหนี้สิน
การวางแผนและควบคุมหนี้สิน
ย้อนกลับ
หมวดหมู่บทความ
กฎหมาย/ภาษี
การเงินการบัญชี
เกร็ดความรู้ภาษีต่างๆ
ข้อหารือภาษีอากร
กิจการ/อื่นๆ
หน้าแรก
Blog
การเงินการบัญชี
การวางแผนและควบคุมหนี้สิน
การวางแผนและควบคุมหนี้สิน
ย้อนกลับ
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับการวัดฐานะการเงินของกิจการ ได้แก่สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ หนี้สินและส่วนของเจ้าของเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการดำเนินงานของกิจการ
ลักษณะและประเภทของหนี้สิน
หนี้สิน
หมายถึง ภาระผูกพันที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจากกิจกรรม หรือเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในอดีต ซึ่งทำให้กิจการต้องจัดหาเงินจำนวนหนึ่ง หรือสินทรัพย์อื่นๆ หรือบริการอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อที่จะมอบให้แก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องในเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต จากความหมายของหนี้สินดังกล่าวข้างต้น สรุปลักษณะของหนี้สิน ได้ดังนี้
1) ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการภาระผูกพันดังกล่าวเป็นหน้าที่หรือความรับผิดชอบที่กิจการต้องปฏิบัติตามที่ตกลงไว้ ซึ่งอาจมีผลบังคับตามกฎหมาย หรืออาจเกิดจากการ
ดำเนินงานตามปกติของกิจการ จากประเพณีการค้า หรือจากความต้องการที่จะรักษาความสัมพันธ์เชิงธุรกิจกับลูกค้า ในการดำเนินธุรกิจกิจการส่วนใหญ่มักดำเนินงานโดยการก่อหนี้เช่น การจัดหาสินค้าและบริการด้วยการซื้อเป็นเงินเชื่อ การกู้ยืมเงินจากธนาคาร เป็นต้นซึ่งการก่อหนี้ทำให้กิจการมีภาระผูกพัน
2) ภาระผูกพันในปัจจุบันต้องแยกออกจากภาระผูกพันในอนาคตอย่างชัดเจนการที่ผู้บริหารเพียงแต่ตั้งใจจะจัดหาสินทรัพย์ไม่ถือว่าภาระผูกพันในปัจจุบันได้เกิดขึ้น
ในกรณีดังกล่าว ภาระผูกพันในปัจจุบันจะเกิดขึ้นเมื่อกิจการได้รับมอบสินทรัพย์ หรือเมื่อได้ทำสัญญาจัดหาสินทรัพย์ที่มิอาจยกเลิกได้หากกิจการไม่ปฏิบัติตามสัญญาจะทำให้กิจการเกิดผลเสียหายทางเศรษฐกิจ เช่น กิจการต้องจ่ายค่าปรับให้กับคู่สัญญาเนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามสัญญา
3) ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการต้องเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต เหตุการณ์ในอดีต เช่น การได้มาซึ่งสินค้าและบริการซึ่งกิจการไม่ได้ชำระค่าสินค้าและบริการ
ทันทีที่ส่งมอบ จึงก่อให้เกิดเจ้าหนี้การค้าเป็นต้น
4) การชำระภาระผูกพันจะส่งผลให้กิจการสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ กิจการต้องสละทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื่อชำระภาระผูกพันในปัจจุบัน การชำระภาระผูกพันในปัจจุบันอาจเกิดได้ในหลายลักษณะ เช่นการชำระด้วยเงินสด การโอนสินทรัพย์อื่นๆเป็นต้น
Click
Download ร
ายละเอียดการวางแผนและควบคุมหนี้สิน คลิกได้ที่รูปภาพ
ข
อบคุณบทความจาก ::
สรรพากรสาส์น
ประกาศบทความโดย ::
www.prosofterp.com
407
ผู้เข้าชม
สมัครรับข่าวสาร
Get started for free today.
ทดลองใช้งาน
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com